SkyscraperCity Forum banner

Ubon Ratchathani | Emerald of Isan

9M views 31K replies 585 participants last post by  UbonTrakarn 
#1 · (Edited)
Ubon Ratchathani (often in short Ubon, Thai: อุบลราชธานี) is one of the north-eastern provinces (changwat) of Thailand, and the country's easternmost. Ubon is about 600 km away from Bangkok. Neighboring Provinces are (from west clockwise) Sisaket, Yasothon and Amnat Charoen. To the north and east it borders Salavan and Champasak of Laos, to the south Preah Vihear of Cambodia.

Geography



Mekong River in Amphoe Khong Chiam
At Khong Chiam the Mun river, the biggest river of the Khorat Plateau, joins the Mekong, which forms the north-eastern boundary of Thailand with Laos. It is called Maenam Song Si or the Mun River alluvium because the brown water from Mekong River is mixed with blue water from Mun River. It is located about 84 km. from Ubon Ratchathani City centre.
The area where the borders of the three countries Thailand, Laos and Cambodia meet is promoted as the Emerald Triangle, in contrast to the Golden Triangle in the north of Thailand. The Emerald refers to the large intact monsoon forests there.
Another natural place is namtok Saeng Chan. This waterfall is 1 km. from Thung Na Muang Waterfall.
Ubon Ratchathani also boasts the following national parks:
Phu Chong Na Yoi National Park covers an area of 687 km² over mountainous areas in the province. The park is where Thailand borders Laos and Cambodia. Visitors are recommended to take hiking trails which lead on to the high plateau. The best view of this is the cliffs at Pha Pheung. The interesting attractions include: the 40 m Bak tew Yai Waterfall, which is located 4 km from the park office.
Kaeng Tana National Park is in Khong Chiam District. It can be reached on two routes. The first route is by taking Highway No.2222 where visitors can see a beautiful view of Kaeng Tana, an island in the Mun River. Another way, visitors can go this way by taking the route to the National Park Office along Highway No.217.
Pha Taem National Park[1] covers an area of 140 km². Plateaus and hills dominate the park landscape. The sheer cliffs here are a result of earthquakes. The interesting places in the national park are Pha Taem and Pha Kham. On the cliffs surface are numerous prehistoric cave paintings from 3,000-4,000 years ago. These paintings depict scenes of fishing, rice farming, figures of people, animals, hands and geometric designs that show the way of life during the pre-historic time and reflect the ancient lifestyle of the people who lived there


History

The area was part of the Khmer Empire. Before the late eighteenth century, this area evidently was outside Siamese or Thai Ayutthaya Kingdom. After the fall of Ayutthaya in 1767 several new tribes settled there, including the Kha and Suai. Siamese/ Thai began to expand its influence over the area since the rise of Thonburi and Bangkok Kingdoms. Twenty years later King Rama I offered a noble title to the local leader who could unite the many small settlements into one town. This was accomplished in 1786 with the founding of Ubon Ratchathani by Thao Khamphong, the Laotian prince who fled from Vientiane. Ubon Ratchathani was then named as Bangkok's tributary subject. Before it became a province. Ubon Ratchathani was the administrative center of the monthon Isan, of which monthon Ubon was split off. In 1925 it became part of monthon Nakhon Ratchasima, with the abolishment of the monthon in 1933 the province became a first level subdivision of the country.
Until 1972 the Ubon Ratchathani province was the largest province of Thailand areawise. In 1972 Yasothon was split off, in 1993 Amnat Charoen, after which it now holds the 5th rank.

Education



Ubon Ratchathani University Gate, located in Amphoe Warin Chamrap
Ubon Ratchathani province is the main site of Ubon Ratchathani University.

Symbols

The provincial seal shows a Lotus flower in a pond. This refers to the meaning of the name of the province, which translates to Royal city of the lotus flower. Therefore the provincial flower also is the Lotus (Nymphaea lotus). The provincial tree is the Yang-khao (Dipterocarpus alatus).

Administrative divisions


The province is subdivided into 25 districts (amphoe). The districts are further subdivided into 219 subdistricts (tambon) and 2469 villages (muban). The numbers missing in the table are the districts which formed the province Amnat Charoen in 1993.
1. Mueang Ubon Ratchathani
2. Si Mueang Mai
3. Khong Chiam
4. Khueang Nai
5. Khemarat
7. Det Udom
8. Na Chaluai
9. Nam Yuen
10. Buntharik
11. Trakan Phuet Phon
12. Kut Khaopun
14. Muang Sam Sip
15. Warin Chamrap
19. Phibun Mangsahan
20. Tan Sum
21. Pho Sai
22. Samrong
24. Don Mot Daeng
25. Sirindhorn
26. Thung Si Udom
29. Na Yia
30. Na Tan
31. Lao Suea Kok
32. Sawang Wirawong
33. Nam Khun
Ubon Ratchathani City is also a center of the Ubon Ratchathani Metropolitan Area.
Nr. City/Town Thai Urban Population Notes
1. Ubon Ratchathani เทศบาลนครอุบลราชธานี 85,557 Inh. Capital of the province,Historic town,Touristical,International Airport
2. Warin Chamrap เทศบาลเมืองวารินชำราบ 30,521 Inh. Educational, Railway Terminal
3. Phibun Mangsahan เทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร 11,326 Inh.
4. Det Udom เทศบาลเมืองเดชอุดม 14,933 Inh.
5. Kham Yai เทศบาลตำบลขามใหญ่ 54,679 Inh.
6. Saen Suk เทศบาลตำบลแสนสุข 23,070 Inh.
7. Trakan เทศบาลตำบลตระการ 7,672 Inh.
8. Nam Yuen เทศบาลตำบลน้ำยืน 9,644 Inh.
9. Pathum เทศบาลตำบลปทุม 10,679 Inh.
10. Ubon เทศบาลตำบลอุบล 6,070 Inh.
11. Huai Khayung เทศบาลตำบลห้วยขะยูง 3,64 6 Inh.



Tourism

Sights
Thung Si Mueang (ทุ่งศรีเมือง) - is a beautifully landscaped public park in the heart of the city in front of the city hall. It houses an imitation of a carved candle sculpture, health park, and playground.
City Pillar Shrine (ศาลหลักเมือง) - Located at the southern corner of the field, the sacred pillar was built in 1972.
Monument of Phra Pathum Worarat Suriyawong or Chao Kham Phong (อนุสาวรีย์พระปทุมวรราชสุริยวงศ์ หรือ เจ้าคำผง) - Phra Pathum Worarat Suriyawong is the founder of Ubon Ratchathani during 1778-1795.
Sculpture of Somdet Phra Maha Wirawong or Tisso Uan (ปฏิมากรรมสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ หรือ ติสโส อ้วน) - a famous monk who was well versed in Sutra and Vipassana.
Monument of Goodness (อนุสาวรีย์แห่งความดี) - The monument was built by WWII PoWs to honour the generosity and goodness of the people of Ubon Ratchathani.
Sculpture of Harmony and Progress (ปฏิมากรรมร่วมใจก้าวไปข้างหน้า) - The sculpture represents the harmony of 4 countries: Thailand, Lao PDR., Cambodia, and Vietnam.
Wat Thung Si Mueang (วัดทุ่งศรีเมือง) The Buddha’s footprint is housed in the Ubosot which mirrors art blending between the early Rattanakosin era and that of Vientiane. Another important building in the temple is the Ho Trai - the Hall of Tipitaka scriptures. The wooden hall was built in the pond to protect the Tipitaka from insects.
Wat Si Ubon Rattanaram or Wat Si Thong (วัดศรีอุบลรัตนาราม หรือ วัดศรีทอง) - The Ubosot houses a sacred Buddha image known as “Phra Kaeo Butsarakham”. The Buddha image, in the attitude of subduing Mara, is carved from topaz into the Chiang Saen style. Each year, in the Songkran Festival, people will parade the Buddha image around for the people to pay respect and bathe.
National Museum of Ubon Ratchathani (พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี) - The single-storey hip roofed building, built in 1918, once served as the city hall before it was handed to the Fine Arts Department. The museum features local exhibitions: geography, history of the city’s establishment, archaeological fine art objects, local handicrafts and folk games.
The Golden Jubilee Art and Cultural Centre (ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมกาญจนาภิเษก) - The 7-storey building in contemporary Isan architecture was built to commemorate the Golden Jubilee Celebrations of His Majesty’s Accession to the Throne. H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn presided over the opening ceremony on 11 December, 2001.
Wat Chaeng (วัดแจ้ง) - The Ubosot, which was only completed 24 years later, is famed for its beautiful architecture and rare woodcarving. As a precious historical site, the Ubosot is well preserved in its original condition. It has won a Certificate of Honour from H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn in the ‘Architect 87’ Exhibition.
Wat Maha Wanaram (วัดมหาวนาราม) - It was at first only a ‘Samnak Song’, a monastic residence, for Vipassana monks. According to a stone inscription found behind the principal Buddha statue, Phrachao Yai In Paeng, it was built in 1807. The stucco Buddha statue, in the attitude of subduing Mara, was built in the Laotian style.
Wat Burapharam (วัดบูรพาราม) - The temple once served as a residence for famous meditation monks. Today, the temple houses life-like stone figures of these monks.
Wat Supattanaram Worawihan (วัดสุปัฏนารามวรวิหาร) - This is the first Dhammayutika temple of the province. The temple has a special Ubosot designed by a royal highway engineer Luang Sathit Nimankan (Chuan Supiyaphan). It has a Thai-style roof, western style hall and Khmer-style base.
Hat Wat Tai (หาดวัดใต้) - The beach situated in the middle of the Mun River. During the dry season, its white sandy beach is a favourite place for holiday-makers to enjoy the easy atmosphere and greenery.
Ban Kan Lueang Archaeological Site (แหล่งโบราณคดีบ้านก้านเหลือง) - It is an archaeological site which can be dated back to 2,800-2,500 years ago. In 1996, the Fine Arts Department found a number of artefacts such as beads, pottery, bronze bells, iron axes and chaff.
Wat Sa Prasan Suk or Wat Ban Na Mueang (วัดสระประสานสุข หรือ วัดบ้านนาเมือง) - The temple houses a special Ubosot in the shape of the Suphannahong Royal Barge decorated with mosaic. The abbot, Achan Bunmi, is widely honoured among the people of Ubon Ratchathani as well as those from nearby provinces.
Hat Khu Duea (หาดคูเดื่อ) - The beach by the Mun River is 12 km from downtown Ubon Ratchathani via Highway 24. Lots of restaurants on the raft are available.
Ban Pa-ao (บ้านปะอาว) - The ancient village is situated in Tambon Nong Khon. Since two centuries ago, the villagers actually immigrated from Vientiane during the reign of King Siri Bunsan and settled here. The village is famed for its brass work in an ancient style.
Wat Nong Pa Phong (วัดหนองป่าพง) - The temple is situated in a lush forest of Tambon Non Phueng. The tranquillity allows monks to study and practice Vipassana meditation. Attractions in the temple include the Phra Phothiyan Thera Museum that displays the eight requisites and wax model of Luangpu Cha.
Wat Pa Nana Chat (วัดป่านานาชาติ) - Numerous foreign monks study and practice Vipassana meditation here; most of them can speak Thai fluently and pray in Pali. Strict practices of the monks here make the temple quite honourable among Buddhists.
Wat Phukhao Kaeo (วัดภูเขาแก้ว) - The temple has a very beautiful Ubosot which is delicately decorated with a tiered roof covered with terracotta tiles and supporting a golden spire in the middle. Inside is the high-relief regarding important Phrathats, relic-containing pagodas, of Thailand.
Kaeng Saphue (แก่งสะพือ) - The rapids in the Mun River is a place to relax and enjoy the currents and wave sound. ‘Saphue’ derives from the word ‘Samphuet’ in Suai ethnic language which means large serpent.
Sirindhorn Dam (เขื่อนสิรินธร) - Called Khuean Dom Noi by the locals, the rockfill dam with a clay core was constructed across the Lam Dom Noi, a tributary of the Mun River. The hydroelectric dam is 42 metres high and 940 metres long.
Chong Mek (ช่องเม็ก) - The permanent Thai-Lao border pass is 90 km from downtown Ubon Ratchathani. The pass is a land bridge to Champasak Province.
Kaeng Tana National Park (อุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ) - The park features plateaux and undulating hills with deciduous dipterocarp forest and grassland. The park has many attractions; namely,
Don Tana (ดอนตะนะ) - An island in the middle of the Mun River of only 450 metres wide and 700 metres long.
Kaeng Tana (แก่งตะนะ) - The largest rapids of the Mun River. In the middle of the rapids, there is a huge sandstone boulder splitting the river into two streams, and a concrete block built during the French Colonial Era to identify a channel for cruising.
Tham Phra or Tham Phu Ma Nai (ถ้ำพระหรือถ้ำภูหมาไน) - A stone inscription and Lingam base or ‘Yoni’ from the 7th-8th Century were found. Now the original stone inscription is kept in the National Museum, Ubon Ratchathani.
Namtok Rak Sai Nature Trail (เส้นทางศึกษาธรรมชาติน้ำตกรากไทร) - The trail lines the cliff by the Mun River, 500 metres from the park’s headquarters. It runs by the cliff for 1 km. through various kinds of flora, such as lichen, moss, and fern, Tham Phra and Namtok Rak Sai.
Namtok Tat Ton (น้ำตกตาดโตน) - The waterfall is situated on Highway 2173, off Highway 217 by 5 km.
Annamese Lion Pulpit at Ban Chi Thuan (ธรรมาสน์สิงห์ศิลปะญวนที่บ้านชีทวน) - The Buddhist pulpit is placed at Wat Sinuan Saeng Sawang Arom. The concrete pulpit itself is quite unique with a lion sculpture carrying the pulpit with decorative stucco, multi-layer wooden roof, and painting in the Annamese style.
Wat Thung Si Wilai (วัดทุ่งศรีวิไล) - The temple houses Luangpho Wiset, the principal Buddha image carved from laterite seated beneath the Naga’s hood. The sacred Buddha image from the Dvaravati period is considered a sacred icon for the village. The temple is surrounded by several enclosures of Sima stones that mark the temple’s consecrated boundary.
Wat Tham Kuha Sawan (วัดถ้ำคูหาสวรรค์) - The temple was built by Luangpu Khamkhaning Chulamani to be a place for meditation practice where he also resided. Today, Luangpu has died but his body, which is not rotten, is well kept in a glass coffin and considered a sacred item.
Maenam Song Si (แม่น้ำสองสี) - At the mouth of the Mun River, Ban Woen Buek. The Mun River runs into the Mekong, so we can see two rivers, in two different colours – ‘Song Si’ means two colours - blending together. The Mekong River will be reddish brown while the Mun River is rather blue.
Pha Taem National Park (อุทยานแห่งชาติผาแต้ม) - The park features plateaux, undulating hills, and towering cliffs with strange sandstone formations scattered around. The park is covered mostly by deciduous dipterocarp forest and wild flowers can be found on the rock terrace. Its attractions include:
Sao Chaliang (เสาเฉลียง) - Carved by wind and water for millions of years, the mushroom-like stone towers are scattered around the area containing shell fossils, sand and gravels in their texture. Geologists assumed that over million years ago this area was once a sea.
Pha Taem and Pha Kham (ผาแต้มและผาขาม) - The towering cliffs house groups of pre-historical paintings which date back to 4,000-3,000 years ago. There are over 300 paintings in five categories including animals, geometrical motifs, rice farmers, hands, and ‘Tum’ or typical fish trap.
Namtok Soi Sawan (น้ำตกสร้อยสวรรค์) - Two streams, Huai Soi and Huai Phai, combine and plunge 20 metres down to the pond below, making the waterfall look like a necklace – ‘Soi’ in Thai.
Namtok Thung Na Mueang (น้ำตกทุ่งนาเมือง) - The medium-sized waterfall cascades down a 25-metre cliff through flowerbeds which are in full bloom between October to December.
Namtok Saeng Chan or Namtok Ru (น้ำตกแสงจันทร์หรือ น้ำตกรู) - The tiny fall is special as the stream falls through a hole – ‘Ru’ – down to the pond below. At noon, sunshine through the hole makes the waterfall look like a ray of moonshine – ‘Saeng Chan’.
Dong Na Tham Forest (ป่าดงนาทาม) - From September to November is the best time to enjoy the nature around while flowers are in full bloom, as well as waterfalls and fogs over the Mekong River. From January to March is the best time to see the forest change its hue, with trees shedding their leaves, and to cruise in the Mekong from Ban Pak La to Khan Tha Kwian.
Wat Phu Anon (วัดภูอานนท์) - The temple has interesting attractions including a rock terrace with large footprints, nature-made stone jar, and cave painting.
Phu Lon (ภูหล่น) - The mountain is in Tambon Song Yang, 20 km north of Amphoe Si Mueang Mai. It has a cave where the late famous monk Phra Achan Man Phurithatto practiced his Vipassana.
Namtok Huai Sai Yai or Kaeng I Khiao (น้ำตกห้วยทรายใหญ่ หรือ แก่งอีเขียว) - The waterfall is in the Buntharik - Khao Yot Mon Wildlife Sanctuary. The waterfall runs over the rock terrace among a shady environment.
Phu Chong - Na Yoi National Park (อุทยานแห่งชาติภูจอง-นายอย) - The park covers a total area of 686 km2. Its boundary connects to Lao PDR and Cambodia in the area called the Emerald Triangle. Its attractions include.
Namtok Huai Luang or Namtok Bak Teo (น้ำตกห้วยหลวง หรือ น้ำตกบักเตว) - Plunging down three steps from an elevation of 30 metres, the waterfall has a small pool with a white beach and turquoise coloured water.
Phlan Yao Rock Garden (สวนหินพลานยาว) - Rocks in different formations are scattered around the area.
Pha Phueng Viewpoint (จุดชมทิวทัศน์ผาผึ้ง) - The viewpoint is just next to the rock garden.
Namtok Koeng Mae Phong (น้ำตกเกิ้งแม่พอง) - The waterfall is 9 km south of Namtok Huai Luang along the nature trail. It originates from the Lam Dom Noi Stream.
Kaeng Sila Thip (แก่งศิลาทิพย์) - Huai Luang Stream runs over a rock terrace and turns fierce in the rapids. In the middle of the stream, stream power has created lots of holes on the rock surface in different sizes and depths called “Kumphalak.”
Phlan Kong Kwian (พลาญกงเกวียน) - The vast rock terrace with rock shelters at the front is home to wild flowers and plants. In previous days, travellers could seek shelter from this place. Thus, it is called Phlan Kong Kwian which literally means cart terrace.
Phu Hin Dang (ภูหินด่าง) - The cliff-top viewpoint to witness the forest scenery of Lao PDR. and Cambodia. Its cliff is especially painted with natural bright hues. Geologists explain that dry weather millions of years ago catalyzed the mineral residues in the seawater and resulted this way.
Namtok Kaeng Lamduan (น้ำตกแก่งลำดวน) - The fall is situated in the compound of the Ubon Ratchathani Wildlife Reservation Promotion and Development Station. The waterfall runs over a rock terrace and through the shady forest of Lamduan trees.
Prasat Ban Ben (ปราสาทบ้านเบญจ์) - The Khmer sanctuary is a religious site comprising three brick Prangs on separated laterite bases. The Fine Arts Department excavated the site in 1990 and found lintels featuring 9 directional guardian angels and the God Indra on his Erawan heavenly elephant.

Local products
Ubon Ratchathani’s local products include hand-woven cotton, Khit pillow, loincloth, silk, brassware, and basketry.
Mu Yo (Moo Yaw) or preserved pork, Chinese sausage, Isan sausage, and Khem Mak Nat or black-eared catfish or iridescent shark-catfish in saline water with chopped pineapple. Various preserved and ready-to-eat food such as dried fish, dried frog’s skin, and steamed bun with bamboo shoot stuff.

Culture


Festivals
Flower Festival (งานเทศกาลไม้ดอกไม้ประดับ) - Held every February at Thung Kham Nam Saep Stadium, Amphoe Warin Chamrap, the festival features floral floats, decorative and flowering plant contests and fair.
Kaeng Saphue Songkran Festival (งานประเพณีมหาสงกรานต์แก่งสะพือ) - Held every April in Amphoe Phibun Mangsahan, the festival comprises a beauty contest, fair, local sports, and local music contest.
Illuminated Boat Procession (งานประเพณีไหลเรือไฟ) - Held every October to mark the end of the Buddhist Lent, boats from different temples will illuminate the river near the Rattanakosin Bicentennial Bridge.
Traditional Boat Races (งานแข่งขันเรือยาวประเพณี) - Several boat racing tournaments are held annually in October after the end of the Buddhist Lent. The Mueang Ubon Ratchathani Municipality’s tournament is held near the Rattanakosin Bicentennial Bridge. Tambon Phibun Mangsahan Municipality’s tournament is held near the Mun River Bridge, and Wat Pho Tak’s tournament is held in front of the temple.
 
See less See more
#4 · (Edited)
#6 ·
Ubon is one of the big cities in Isan. Let's post more pics and update news.

Kanjanapisek Cultural Centre, Ubon Ratchathani Rajabhat University

http://202.28.50.45/~esan/inter/eng/kanjanapisek.php
QUOTE]

ชอบภาพนี้จังดูเป็นตึกสถาปัตยกรรมไทยดี

อุบล กับ วาริน นี่หมือนเป็นเมืองฝาแฝดกันป่าวคับ? อยู่กับคนละฝั่งของแม่น้ำ
 
#7 ·
เป็น 2 อำเภอที่ตั้งอยู่ห่างกันนิดเดียว ขับรถแป๊บๆจากตัวเมืองอุบลก็ทะลุไป อ.วารินชำราบแล้ว เลยแลดูเป็นเมืองที่ link กันไปลย ดูเจริญดี เหอๆ
 
#9 ·
"ยงสงวน"ประเดิมผุด2สาขาคว้าแฟรนไชส์"Daiso"อีสานล่าง


ยักษ์ค้าปลีกค้าส่งเมืองอุบลฯ "ยงสงวนกรุ๊ป" เดินหน้าขยายสาขาใหม่ในปี"51 อีก 2 สาขา พร้อมรับสิทธิ์เป็นเจ้าของกิจการแฟรนไชส์ร้าน "Daiso" จากญี่ปุ่น ขายราคาเดียว 65 บาท ดูแลพื้นที่ภาคอีสานตอนล่างทั้งหมด นำร่องเปิดแล้วแห่งแรกที่สาขาถนนชยางกูร เมืองดอกบัว ลูกค้าตอบรับดีเกินคาด





นายประกิจ ไชยสงคราม ประธานกรรมการ บริษัท ยงสงวนกรุ๊ป จำกัด ผู้ประกอบการค้าปลีกค้าส่งรายใหญ่ของจังหวัดอุบลราชธานี เปิดเผย "ประชาชาติธุรกิจ" ว่า ในปี 2551 บริษัทมีโครงการขยายสาขาไปยังเขตอำเภอเมืองอีก 2 สาขา คือ สาขาโรงเรียนเยาวเรศศึกษา และสาขาปากห้วยวังนอง โดยเฉพาะสาขาปากห้วยวังนอง ซึ่งตั้งอยู่บนเนื้อที่ 4 ไร่ ใกล้ๆ โรงเรียนปทุมวิทยาคม ทางยงสงวนกรุ๊ปใช้งบประมาณในการลงทุนประมาณ 10 ล้านบาท และมีกำหนดเปิดให้บริการลูกค้าในช่วงปลายเดือนมกราคม 2551 นี้ โดยมีสินค้าให้เลือกซื้อถึง 10,000 กว่ารายการ

ทั้งนี้ สาขาปากห้วยวังนองจะเป็นสาขาที่สมบูรณ์แบบที่สุด และมีความพิเศษกว่าสาขาอื่น เนื่องจากมีการแบ่งพื้นที่ใช้สอยอย่างหลากหลายเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ลูกค้าที่มาใช้บริการ เช่น มีการแบ่งเป็นพื้นที่ร้านขายยา วิดีโอ เคาน์เตอร์เซอร์วิส ตลาดแลง (ตลาดตอนเย็น) นอกจากนี้ยังกันพื้นที่ส่วนหนึ่งเป็นพื้นที่สวนเพื่อเป็นการเพิ่มสีเขียวอีกด้วย

สำหรับกิจการค้าปลีกค้าส่งที่บริษัทดำเนินการเวลานี้ มีสัดส่วนของการค้าส่งประมาณ 60% และค้าปลีก 40% โดยกิจการค้าส่งนั้นมีรถบรรทุกสินค้าจำนวน 31 คัน เพื่อรับส่งสินค้าให้กับลูกค้าที่อยู่ตามอำเภอต่างๆ และจังหวัดใกล้เคียง ส่วนกิจการค้าปลีกนั้นถ้าหากนับรวมร้านมินิมาร์ต ศูนย์ค้าส่งและค้าปลีกแล้ว จะมีร้านสะดวกซื้อทั้งหมด 9 สาขา

นายประกิจเปิดเผยต่อไปอีกว่า สินค้าที่จำหน่ายภายในห้างยงสงวนฯนั้น ประมาณ 90% ทางซัพพลายเออร์จะนำมาส่งให้วันละ 3-4 เที่ยว โดยมีผลิตภัณฑ์ให้ลูกค้าเลือกซื้อเกือบ 70,000 ชนิดไม่ซ้ำกัน ขณะนี้กำลังพิจารณาถึงความเป็นไปได้ในการเปิดให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง และในอนาคตมีโครงการรับชำระค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า ไปรษณีย์ โอนเงินให้ครบทุกสาขาอีกด้วย

นอกจากนี้ยงสงวนกรุ๊ปยังซื้อกิจการแฟรนไชส์ร้านจำหน่ายสินค้า "Daiso" จากประเทศญี่ปุ่นอีกด้วย ซึ่งร้าน Daiso ดังกล่าวเป็นร้านจำหน่ายสินค้าประเภทกิฟต์ช็อป เครื่องตกแต่งบ้าน ของใช้ในครัวเรือน เครื่องมือทำสวน เครื่องแต่งกาย โดยมีจุดเด่นที่สินค้าทุกชิ้นจะจำหน่ายในราคาเดียว คือ 65 บาทเท่านั้น ซึ่งขณะนี้ได้เปิดให้บริการแก่ชาวจังหวัดอุบลราชธานีแล้ว ที่ห้างยงสงวนเซปแลนด์ สาขาถนนชยางกูร เป็นแห่งแรกและแห่งเดียวในภาคอีสาน เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2550 ที่ผ่านมา โดยมีสินค้าให้เลือกซื้อกว่า 30,000 ชิ้น และในอนาคตยังมีโครงการขยายไปยังสาขาอื่นๆ ต่อไป

สำหรับกิจการแฟรนไชส์ร้าน "Daiso" ที่ประเทศไทยมีเพียง 4 จังหวัดเท่านั้น คือ กรุงเทพฯ เชียงใหม่ ภูเก็ต และอุบลราชธานี ซึ่งยงสงวนกรุ๊ปได้รับความไว้วางใจจาก Daiso เพื่อให้ดูแลพื้นที่ภาคอีสานตอนล่างทั้งหมด ถ้าหากใครจะขอเปิดร้าน Daiso จะต้องขอติดต่อมาที่ยงสงวนกรุ๊ป

ด้านนางสาริน ไชยสงคราม ผู้จัดการร้าน Daiso สาขาถนนชยางกูร เปิดเผยเพิ่มเติมว่า หลังจากที่ร้าน Daiso เปิดให้บริการแก่ลูกค้าแล้ว ปรากฏว่าได้รับการตอบรับจากลูกค้าเป็นอย่างดี ลูกค้าที่มาใช้บริการมักหวนกลับมาใช้บริการอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากที่ร้านมีสินค้าให้เลือกหลากหลายชนิด สามารถรองรับความต้องการของครัวเรือนได้เป็นอย่างดี

หน้า 27
 
#10 ·
By geographical, this is the twin cities comprising of Ubon in the north and Warin in the south.




Here's 'Ubon Ratchathani' - 'Warin Chamrap' comprehensive plan.



It looks like Bangkok and Thonburi before become Bangkok Metropolis Administration, Right?
 
#12 ·
“โฮมฮับอุบลฯ” ร่วมสถาบันการเงินหนุนคนให้มีบ้านอยู่
โดย ผู้จัดการรายสัปดาห์ 24 มกราคม 2551 18:38 น.




อุบลราชธานี - บริษัทค้าวัสดุก่อสร้าง-ตกแต่งบ้านรายใหญ่ จับมือสถาบันการเงิน หมู่บ้านจัดสรร และผู้ผลิตสินค้า เสนอนวัตกรรมใหม่ผลิตภัณฑ์ไม่ทำให้โลกร้อนรวมทั้งหนุนมนุษย์เงินเดือนให้มีบ้านอยู่ภายใน 3 วัน อัตราดอกเบี้ยต่ำ ผ่อนชำระน้อย

นายองอาจ ตั้งมิตรประชา ประธานกรรมการบริษัท โฮมฮับ จำกัด สาขาจังหวัดอุบลราชธานี พร้อมผู้บริหารจากสถาบันการเงิน เช่น ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกสิกรไทย กล่าวถึงการจัดงานโฮมฮับแฟร์ 2008 ระหว่างวันที่ 9-11 กุมภาพันธ์ ที่หน้าบริษัท โฮมฮับ สาขาจังหวัดอุบลราชธานี เพื่อสนับสนุนให้ผู้ที่ยังไม่มีบ้านอยู่อาศัย ได้มีบ้านอยู่อาศัย

โดยสามารถผ่อนชำระกับสถาบันการเงินในวงเงินและดอกเบี้ยต่ำ เพื่อไม่เป็นภาระแก่ผู้ที่ต้องการผ่อนชำระมากเกินไป โดยเฉพาะในกลุ่มลูกค้าที่เป็นข้าราชการ พนักงานบริษัทที่มีรายได้ประจำ

สำหรับผู้ที่มีบ้านอยู่อาศัยอยู่แล้ว แต่ต้องการซ่อมแซมที่พักอาศัยก็จะได้รับคำแนะนำให้ใช้นวัตกรรมใหม่ด้านวัสดุก่อสร้างและตกแต่งบ้านที่ไม่เป็นมลภาวะเป็นพิษทำให้โลกร้อน โดยจะมีบริษัทจำหน่ายบ้านจัดสรรและบริษัทผู้ผลิตสินค้าตกแต่งบ้านกว่า 50 บริษัทมาให้คำแนะนำ สำหรับผู้ที่ตกลงเซ็นสัญญาซื้อบ้านทั้งใหม่และเก่าภายในงาน

นอกจากจะได้รับอัตราดอกเบี้ยต่ำคงที่ร้อยละ 5.5 ใน 3 ปี ก็ยังสามารถรับการอนุมัติสินเชื่อตั้งแต่ 80-100% ของหลักทรัพย์จากสถาบันการเงินที่เข้าร่วมงานได้ภายใน 3 วัน การจัดงานครั้งนี้ ยังเป็นการจัดงานครั้งแรกในภูมิภาคของประเทศไทยด้วย

นายองอาจ กล่าวต่อถึงการขยายตัวของการค้าวัสดุก่อสร้างของจังหวัดอุบลราชธานี ตลอดปี 2550 มียอดการค้ารวมของทุกบริษัทประมาณ 15,000 ล้านบาท โดยเป็นยอดการค้ากับประเทศเพื่อนบ้านคือ ประเทศลาวและกัมพูชาประมาณ 2,000 ล้านบาท ซึ่งภาพรวมยอดการค้ายังขยายตัวต่อเนื่อง เพราะภาวะทางการเมืองไม่มีผลกระทบกับการค้าในภูมิภาคมากนัก

ทั้งนี้ คาดว่าไตรมาสแรกของปีนี้ บริษัทโฮมฮับจำกัดสาขาอุบลราชธานี ตั้งเป้าจะมียอดการขยายตัวเพิ่มขึ้นอีก 38% เพราะสั่งจำหน่ายสินค้าตามความต้องการของตลาด โดยไม่มีการกักตุนสินค้า แม้สินค้ากลุ่มวัสดุก่อสร้างและตกแต่งบ้านมีแนวโน้มขึ้นราคาเป็นระยะก็ตาม เพื่อให้ตลาดโตตามกลไกที่เกิดขึ้นจริง
 
#13 · (Edited)
that's right ...does anybody know other Thai twin city ?
ที่เคยเป็นคือเมืองท่าฉลอมกับเมืองมหาชัย แต่ปัจจุบันถูกรวมเป็นเทศบาลนครสมุทรสาคร
ที่ยังเป็นอยู่คืออยุธยากับอโยธยา (เมืองที่ตั้งมาก่อนอยุธยา) โดยช่วงหลังเมืองอโยธยามีการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่สูงกว่า
และเมืองนนทบุรีกับปากเกร็ด ที่เป็นเทศบาลนครทั้งสองเมือง
 
#14 ·
พูดเรื่องนี้แล้วก็คิดได้ว่า
ผมคิดว่าคนส่วนใหญ่คิดว่าคำว่าจังหวัด กับ เมือง มีความหมายเดียวกัน
อย่างผมอยู่ที่ฝรั่งเศส ผมก็เล่าให้ทุกคนฟังว่า เมืองผมมีประชากร 130 000 คน
มีแต่คนบอกว่าเมืองเล็ก เล็กกว่าแม่ฮ่องสอนอีก (???) งงเลยผม

คือ คำว่าเมือง มันคือเขตเทศบาล แต่จังหวัดมันเป็นพื้นที่ทางการปกครองทั้งหมด
ใช่ไหมครับ

เพราะที่เมืองไทย ผมอยู่ อ.พนัสนิคม (ภูมิลำเนา) จ.ชลบุรี คนอื่นก็บอกว่าเป็นคนเมืองชลหรอ?
ผมบอกไม่ใช่ครับ คนเมืองพนัสฯ ต่างหาก






อ๋อ จะถามก็ลืม สถานีรถไฟอุบลราชธานี นี่อยู่ที่ วารินใช่ไหมครับ
 
#15 ·
พูดเรื่องนี้แล้วก็คิดได้ว่า
ผมคิดว่าคนส่วนใหญ่คิดว่าคำว่าจังหวัด กับ เมือง มีความหมายเดียวกัน
อย่างผมอยู่ที่ฝรั่งเศส ผมก็เล่าให้ทุกคนฟังว่า เมืองผมมีประชากร 130 000 คน
มีแต่คนบอกว่าเมืองเล็ก เล็กกว่าแม่ฮ่องสอนอีก (???) งงเลยผม

คือ คำว่าเมือง มันคือเขตเทศบาล แต่จังหวัดมันเป็นพื้นที่ทางการปกครองทั้งหมด
ใช่ไหมครับ

เพราะที่เมืองไทย ผมอยู่ อ.พนัสนิคม (ภูมิลำเนา) จ.ชลบุรี คนอื่นก็บอกว่าเป็นคนเมืองชลหรอ?
ผมบอกไม่ใช่ครับ คนเมืองพนัสฯ ต่างหาก

อ๋อ จะถามก็ลืม สถานีรถไฟอุบลราชธานี นี่อยู่ที่ วารินใช่ไหมครับ
ส่วนตัวผมอยากเห็นการปฏิรูปการปกครองระดับท้องถิ่นในเมืองไทยครับ สิ่งแรกที่ผมอยากเห็นคือการล้มเลิกตำแหน่ง "ผู้ว่าราชการจังหวัด" ในเมื่อเรามี "องค์กรบริหารส่วนจังหวัด/อำเภอ/ตำบล" แล้ว ทำไมเราจึงต้องมีผู้ว่าฯ มีกำนัน มีผู้ใหญ่บ้านอีก? ผมอยากเห็นการกระจายอำนาจอย่างไม่ซ้ำซ้อนและเป็นประชาธิปไตย ซึ่งรัฐธรรมนูญปี 40 ได้สร้างสิ่งนี้ขึ้นมาดีแล้ว เราจึงควรล้มเลิกการควบคุมการส่วนกลางเช่นระบบผู้ว่าฯ ได้แล้ว มันเป็นความซ้ำซ้อนที่ไม่ควรเกิดขึ้น หรือหากพวกข้าราชการผู้หลักผู้ใหญ่ในกรุงเทพฯ ยังไม่ยอมสละอำนาจให้แก่คนในท้องถิ่น เขาก็ควรเพิ่มอำนาจให้ท้องถิ่นมากขึ้น เช่นในกรุงเทพฯ รัฐบาลกลางควรไม่เข้าไปยุ่งและควรสละอำนาจ ย้ายองค์กรต่างๆ ไปให้กทม. เดี๋ยวนี้ พร้อมเงินงบประมานด้วย ตอนที่ทักษิณมีนโยบายผู้ว่า CEO กับการละเมิดพ.ร.บ.องค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น เรื่องการให้งบประมานองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่นมันทำให้ผมผิดหวังมาก ตอนนั้นนึกว่าทักษิณจะเป็น liberal democrat หัวก้าวหน้าแต่กลับทำอย่างนั้น

เรื่องที่สองที่ผมอยากให้เปลี่ยนคือการกำหนด "เขตปกครองพิเศษ" เพิ่ม ปัจจุบันมีกรุงเทพฯ และมีพัทยา แต่ผมอยากให้เมืองใหญ่ๆ ได้รับสถานะนี้ รวมไปถึงสามจังหวัดชายแดนใต้ ซึ่งผมเห็นว่าวิธีการแก้ปัญหาทางเดียวคือการที่ระบบราชการไทยและรัฐบาลกลางจะปฏิรูปตัวเองอย่างหน้ามือเป็นหลังมือ แต่สิ่งนี้เป็นไปได้ยาก ผมจึงอยากเห็นคนใต้ปกครองคนใต้เอง แทนที่ "ผู้ใหญ่" ที่ไม่ค่อยจะฉลาด ไม่ค่อยจะเก่ง และไม่ค่อยจะซื่อสัตย์ จะมาพยายามส่งทหารไปตายอยู่เรื่อยๆ โดยที่ไม่มีความคืบหน้าใดๆ ทั้งสิ้น
 
#16 ·
that's right ...does anybody know other Thai twin city ?

1. Chiang Mai - Lamphun
2. Nong Khai (Thailand) - Viangchan (Laos) - due to archeological evidences
3. Surat Thani - Phunphin - Chai Ya - Kanchanadit (Phiunphin is where Surat Thani Railway station is situated ... Surat Thani - Chaiya and Kanchanadit due to historical records)
4. Trang (@ Thubtiang Commune) - Kantang
5. Hat Yai - Songkla
6. Sukhothai - Sawankhaloke - due to archeological evidences
7. Ayutthaya - Suphanburi - Lopburi (due to historical records)
8. Mahachai - Tha Chalom
9. Hua Hin - Cha Am (they used to be a part of Western Coast Development scheme by Prince Purajat Jaiyakorn)
10. Ang Thong - Wisetchaicharn (due to Historical record)
 
#17 · (Edited)
ส่วนตัวผมอยากเห็นการปฏิรูปการปกครองระดับท้องถิ่นในเมืองไทยครับ สิ่งแรกที่ผมอยากเห็นคือการล้มเลิกตำแหน่ง "ผู้ว่าราชการจังหวัด" ในเมื่อเรามี "องค์กรบริหารส่วนจังหวัด/อำเภอ/ตำบล" แล้ว ทำไมเราจึงต้องมีผู้ว่าฯ มีกำนัน มีผู้ใหญ่บ้านอีก? ผมอยากเห็นการกระจายอำนาจอย่างไม่ซ้ำซ้อนและเป็นประชาธิปไตย ซึ่งรัฐธรรมนูญปี 40 ได้สร้างสิ่งนี้ขึ้นมาดีแล้ว เราจึงควรล้มเลิกการควบคุมการส่วนกลางเช่นระบบผู้ว่าฯ ได้แล้ว มันเป็นความซ้ำซ้อนที่ไม่ควรเกิดขึ้น หรือหากพวกข้าราชการผู้หลักผู้ใหญ่ในกรุงเทพฯ ยังไม่ยอมสละอำนาจให้แก่คนในท้องถิ่น เขาก็ควรเพิ่มอำนาจให้ท้องถิ่นมากขึ้น เช่นในกรุงเทพฯ รัฐบาลกลางควรไม่เข้าไปยุ่งและควรสละอำนาจ ย้ายองค์กรต่างๆ ไปให้กทม. เดี๋ยวนี้ พร้อมเงินงบประมานด้วย ตอนที่ทักษิณมีนโยบายผู้ว่า CEO กับการละเมิดพ.ร.บ.องค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น เรื่องการให้งบประมานองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่นมันทำให้ผมผิดหวังมาก ตอนนั้นนึกว่าทักษิณจะเป็น liberal democrat หัวก้าวหน้าแต่กลับทำอย่างนั้น

เรื่องที่สองที่ผมอยากให้เปลี่ยนคือการกำหนด "เขตปกครองพิเศษ" เพิ่ม ปัจจุบันมีกรุงเทพฯ และมีพัทยา แต่ผมอยากให้เมืองใหญ่ๆ ได้รับสถานะนี้ รวมไปถึงสามจังหวัดชายแดนใต้ ซึ่งผมเห็นว่าวิธีการแก้ปัญหาทางเดียวคือการที่ระบบราชการไทยและรัฐบาลกลางจะปฏิรูปตัวเองอย่างหน้ามือเป็นหลังมือ แต่สิ่งนี้เป็นไปได้ยาก ผมจึงอยากเห็นคนใต้ปกครองคนใต้เอง แทนที่ "ผู้ใหญ่" ที่ไม่ค่อยจะฉลาด ไม่ค่อยจะเก่ง และไม่ค่อยจะซื่อสัตย์ จะมาพยายามส่งทหารไปตายอยู่เรื่อยๆ โดยที่ไม่มีความคืบหน้าใดๆ ทั้งสิ้น

จะไม่เป็นการล้มล้างระบบที่ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ใช้ในการ ยึดสยามให้เป็นหนึ่งเดียวหรอกหรือ? ที่พูดมานี่ก็เพราะ ไม่เคยเชื่อใจในระบบใหม่เสียที เพราะ ยิ่งทำยิ่งออกนอกลู่นอกทาง เต็มที เลยไม่ไว้ใจ
 
#18 ·
พูดเรื่องนี้แล้วก็คิดได้ว่า
ผมคิดว่าคนส่วนใหญ่คิดว่าคำว่าจังหวัด กับ เมือง มีความหมายเดียวกัน
อย่างผมอยู่ที่ฝรั่งเศส ผมก็เล่าให้ทุกคนฟังว่า เมืองผมมีประชากร 130 000 คน
มีแต่คนบอกว่าเมืองเล็ก เล็กกว่าแม่ฮ่องสอนอีก (???) งงเลยผม

คือ คำว่าเมือง มันคือเขตเทศบาล แต่จังหวัดมันเป็นพื้นที่ทางการปกครองทั้งหมด
ใช่ไหมครับ

เพราะที่เมืองไทย ผมอยู่ อ.พนัสนิคม (ภูมิลำเนา) จ.ชลบุรี คนอื่นก็บอกว่าเป็นคนเมืองชลหรอ?
ผมบอกไม่ใช่ครับ คนเมืองพนัสฯ ต่างหาก


อ๋อ จะถามก็ลืม สถานีรถไฟอุบลราชธานี นี่อยู่ที่ วารินใช่ไหมครับ
พุทโธ่ก็ตอบไอ้หรั่งไปว่า เมืองหนะ เฉพาะ เขตเทศบาล (Municipal) ไม่นับส่วนที่อยู่นอกเขตเทศบาล ซึ่งบจังหวัดต้องคอยดูทั้ง 2 ส่วนน่อ

ออ สมัยโบราณ (ปี 2473) ยังเรียกสถานีอุบลฯ ว่า สถานีวารินทร์ อยู่เลย
 
#19 ·
อย่าง อ.เมืองชลบุรี มีเทศบาล 11 แห่ง โดยเป็นเทศบาลเมือง สัก 3 แห่ง

- เทศบาลเมืองชลบุรี ขนาด 4 ตร.กม. ประชากร 40,000 คน
- เทศบาลเมืองบ้านสวน ขนาด 20 ตร.กม. ประชากร 61,000 คน
- เทศบาลเมืองแสนสุข ขนาด 20 ตร.กม. ประชากร 42,000 คน

โดยเราก็รู้ๆกันว่าเมืองชลบุรีเป็นเมืองใหญ่เมืองหนึ่ง แต่ไม่ได้เป็นเทศบาลนครสักที เพราะมีเทศบาลเมืองขนาดใหญ่ขนาบอยู่ ผมก็ไม่เข้าใจทำไมไม่รวมกันเป็นเทศบาลนครชลบุรีไปเลย (ผมไม่รู้นะครับว่าตามกฎหมายเทศบาลมีสิทธิ์รวมกันได้ไหม) แต่ถ้าไม่ได้ก็อยากให้มีการตั้งเขตการปกครองพิเศษ "เมืองชลบุรี" ประมาณนี้แหละครับ

แต่จริงๆ อยากให้เริ่มที่ เชียงใหม่ หาดใหญ่ (สองเมืองนี้เป็นเมืองใหญ่ระดับภาค) นนทบุรี และ ปากเกร็ด (สองนครปริมณฑล ที่น่าจะได้รับสิทธิ์ เท่า กทม.)
 
#20 ·
จะไม่เป็นการล้มล้างระบบที่ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ใช้ในการ ยึดสยามให้เป็นหนึ่งเดียวหรอกหรือ? ที่พูดมานี่ก็เพราะ ไม่เคยเชื่อใจในระบบใหม่เสียที เพราะ ยิ่งทำยิ่งออกนอกลู่นอกทาง เต็มที เลยไม่ไว้ใจ
แต่ผมไม่เชื่อใจระบบของพระยาดำรงราชานุภาพ ผ่านมาร้อยกว่าปี โลกเปลี่ยนแปลงไปแล้ว การปกครองในประเทศ civilized ก็เปลี่ยนแปลงไปแล้วด้วย แต่ทำไมประเทศไทยยังเป็นประเทศโลกที่สามที่มีระบบตำรวจทหารมหาดไทย ที่ดึกดำบรรพ์ ไร้ความยุติธรรม ไม่เป็นประชาธิปไตย ฯลฯ อีก?

ผมอยากถามว่าการกระจายอำนาจมันทำให้อำนาจของรัฐสภาหรือรัฐบาลลดน้อยลงหรือไม่? หรือว่าเป็นเพียงการย้ายอำนาจจากข้าราชการที่นั่งเล่นกอล์ฟกันอยู่ในกรุงเทพฯ ลงไปในท้องถิ่นแทน?

ที่แน่ๆ ครับ ผมไม่เห็นว่าระบบของพระยาดำรง จะสามารถแก้ไขสถานการณ์ในสามจังหวัดภาคใต้ได้เลย
 
Top